พอดีช่วงที่ผ่านมามั่วแต่ทำกิจกรรมจนแทบไม่ได้เข้าเรียนอยากถามข้อสงสัยหน่อยนะค่ะว่าจำดูอย่างไรว่าเป็นกรดหรือเบสแล้วอ่อนหรือแก่ตอนนี้งงมากค่ะ
27 พ.ย. 2548 14:39
143 ความเห็น
132990 อ่าน
ความคิดเห็นที่ 1 หหหห (Guest)
จำคับ
28 พ.ย. 2548 23:45
ความคิดเห็นที่ 2 โดย deathspirit
H-หมู่7A (ยกเว้น HF เพราะ F โมเลกุลเล็ก ส่วนธาตุ At จะไม่พูดถึงเพราะเป็นกัมมันตรังสี)
ส่วนพวกกระออกซี ดูง่ายๆคือ ผลต่างของ H กับ O มากกว่า/เท่ากับ 2 เช่น H2SO4 HNO3 HClO3 HClO4
ส่วนพวกกระออกซี ดูง่ายๆคือ ผลต่างของ H กับ O มากกว่า/เท่ากับ 2 เช่น H2SO4 HNO3 HClO3 HClO4
30 พ.ย. 2548 21:50
ความคิดเห็นที่ 4 ขาประจำ (Guest)
ขอบคุณครับ คุณdeathspirit
18 ธ.ค. 2548 16:16
ความคิดเห็นที่ 7 โดย Unknow
โห แจ่มๆเลยคับ ขอบคุงงับ
10 ม.ค. 2549 19:05
ความคิดเห็นที่ 8 .. (Guest)
กรด+H2O=H3O+ + ไอออนลบของกรดที่ให้มา
เบส+H2O=OH- + ไอออนบวกของเบสที่ให้มา
กรดแก่6ตัว
HCl,HNO3,HClO4,HI,H2SO4,HBr --->จำ
เบสแก่ OH- +ธาตุหมู่IA,IIAยกเว้นBe,Mg --->จำ
กรดแก่,เบสแก่แตกตัวได้100%เขียนสมการไม่ต้องผันกลับ
เบสอ่อน,กรดอ่อน แตกตัวได้น้อยมาก เขียนสมการมีการผันกลับ
ประมาณนี้มั้งตามที่กระทู้ถามมานะ
เบส+H2O=OH- + ไอออนบวกของเบสที่ให้มา
กรดแก่6ตัว
HCl,HNO3,HClO4,HI,H2SO4,HBr --->จำ
เบสแก่ OH- +ธาตุหมู่IA,IIAยกเว้นBe,Mg --->จำ
กรดแก่,เบสแก่แตกตัวได้100%เขียนสมการไม่ต้องผันกลับ
เบสอ่อน,กรดอ่อน แตกตัวได้น้อยมาก เขียนสมการมีการผันกลับ
ประมาณนี้มั้งตามที่กระทู้ถามมานะ
12 ม.ค. 2549 19:46
ความคิดเห็นที่ 9 .. (Guest)
ส่วนพวกที่ไม่ใช่ที่บอกมา
-ถ้าแตกตัวในน้ำได้ H3O+ไอออน จะเป็นกรดอ่อน
-ถ้าแตกตัวในน้ำได้OH-ไอออน จะเป็นเบสอ่อน
-ถ้าแตกตัวในน้ำได้ H3O+ไอออน จะเป็นกรดอ่อน
-ถ้าแตกตัวในน้ำได้OH-ไอออน จะเป็นเบสอ่อน
12 ม.ค. 2549 19:47
ความคิดเห็นที่ 10 krui1234@hotmail.com (Guest)
กรดจะเป็นตัวนำไฟฟ้าได้ดี มีรสเปรี้ยว
25 ม.ค. 2549 10:51
ความคิดเห็นที่ 11 อยากรู้ค่ะ (Guest)
กรดเบสมันสามารถเปลี่ยนสีกระดาษเป็นสีเขียวได้รึเปล่า
รึว่าเปลี่ยนได้แค่สีน้ำเงินบอกหน่อยนะค่ะ
รึว่าเปลี่ยนได้แค่สีน้ำเงินบอกหน่อยนะค่ะ
30 ม.ค. 2549 19:51
ความคิดเห็นที่ 12 โดย deathspirit
ตอบคห.ที่11
ต้องแล้วแต่ชนิดของอินดิเคเตอร์ที่ใช้
เช่นกระดาษลิตมัสก้เป็นอินดิเคเตอร์ชนิดหนึ่ง ซึ่งจะเปลี่ยนสีจาก น้ำเงินเป็นแดง เมื่อสภาวะเป็นกรด และเปลี่ยนจากแดงเป็นน้ำเงิน เมื่อสภาวะเป็นเบส
ต้องแล้วแต่ชนิดของอินดิเคเตอร์ที่ใช้
เช่นกระดาษลิตมัสก้เป็นอินดิเคเตอร์ชนิดหนึ่ง ซึ่งจะเปลี่ยนสีจาก น้ำเงินเป็นแดง เมื่อสภาวะเป็นกรด และเปลี่ยนจากแดงเป็นน้ำเงิน เมื่อสภาวะเป็นเบส
30 ม.ค. 2549 20:56
ความคิดเห็นที่ 13 ..... (Guest)
เก่งจัง
5 ก.พ. 2549 15:13
ความคิดเห็นที่ 14 ENO_NANNAKORN (Guest)
ไม่ต้องเครียดหรอกครับ เรียนๆไปเดี่ยวก็คุ้นเอง ว่าตัวไหนเป็นกรด ตัวไหนเป็นเบส ตัวไหนแก่ ตัวไหนอ่อน
5 ก.พ. 2549 17:33
ความคิดเห็นที่ 16 EMOTION (Guest)
ถูกต้องนะคร้าบ
เรียนๆไปเดี๋ยวก็รู้เอง555
เรียนๆไปเดี๋ยวก็รู้เอง555
21 พ.ค. 2549 11:35
ความคิดเห็นที่ 18 โดย lenblon
พวก กรด เบส แก่ๆๆ นะ มีไม่เยอะ หรอก จำ เอา รึไม่ก้อ เอาไป +H2O แต่ใช้บ่อยๆๆ เด๋วก้อ คุ้ยเคยเองแหละ
ส่วนพวก กรด เบส อ่อนๆๆ ก้อเหมือน พวก bi sexual อ้ะแหละ ไปอยู่กะใครก้อแสดงบทบาท เปน อย่าง
ส่วนพวก กรด เบส อ่อนๆๆ ก้อเหมือน พวก bi sexual อ้ะแหละ ไปอยู่กะใครก้อแสดงบทบาท เปน อย่าง
21 พ.ค. 2549 13:13
ความคิดเห็นที่ 19 โดย ผาง-ผาง
กรดเบส พูดถึงบทนี้เป็นบทที่ผมชอบมากเลยนะครับ
กรดแก่เบสแก่ ดูกันยังไง?
ตอบ กรดแก่ เบสแก่ ดูที่ % การแตกตัวของกรดครับ
กรดแก่แตกตัวได้ 100% กรดซัลฟิวริก H2SO4 กรดไนตริก HNO3 กรดไฮโดรคลอริก HCl กรดเปอร์คลอริก HClO4
กรดไฮโดรโบรมิก HBr และ กรดไฮโดรไอโอดิก HI
กรดแก่มี 6 ตัวแค่นี้ครับ ถ้าใครเอ่ยกรดที่ไม่ใช่กรดในนี้ก็จะเป็นกรดอ่อนทั้งหมดล่ะครับ
ต่อไปเบสแก่ คือ เบสที่แตกตัวได้ 100% ได้แก่ เบสหมู่ 1 ที่เป็นเบสแก่มี 5 ตัว
Li Na K Rb Cs และ หมู่ 2 มี 3 ตัว Ba Ca Sr
รวมเบสแก่มี 8 ตัวนะครับ แค่ เติม OH ไปตามหลังธาตุทั้ง 8 นี้ก็จะได้เบสแก่แล้วครับ เช่น LiOH NaOH Ba(OH)2 เป็นต้น
ถ้าใครกล่าวเบสนอกเหนือ 8 ตัวนี้ก็แสดงว่าเป็นเบสอ่อนล่ะครับ
ย้ำ
กรดแก่และเบสแก่ที่กล่าวมา ทุกคนต้องจำได้นะครับถ้าเรียนสายวิทย์ ต้องใช้แน่นอน
กรดแก่เบสแก่ ดูกันยังไง?
ตอบ กรดแก่ เบสแก่ ดูที่ % การแตกตัวของกรดครับ
กรดแก่แตกตัวได้ 100% กรดซัลฟิวริก H2SO4 กรดไนตริก HNO3 กรดไฮโดรคลอริก HCl กรดเปอร์คลอริก HClO4
กรดไฮโดรโบรมิก HBr และ กรดไฮโดรไอโอดิก HI
กรดแก่มี 6 ตัวแค่นี้ครับ ถ้าใครเอ่ยกรดที่ไม่ใช่กรดในนี้ก็จะเป็นกรดอ่อนทั้งหมดล่ะครับ
ต่อไปเบสแก่ คือ เบสที่แตกตัวได้ 100% ได้แก่ เบสหมู่ 1 ที่เป็นเบสแก่มี 5 ตัว
Li Na K Rb Cs และ หมู่ 2 มี 3 ตัว Ba Ca Sr
รวมเบสแก่มี 8 ตัวนะครับ แค่ เติม OH ไปตามหลังธาตุทั้ง 8 นี้ก็จะได้เบสแก่แล้วครับ เช่น LiOH NaOH Ba(OH)2 เป็นต้น
ถ้าใครกล่าวเบสนอกเหนือ 8 ตัวนี้ก็แสดงว่าเป็นเบสอ่อนล่ะครับ
ย้ำ

21 พ.ค. 2549 18:46
ความคิดเห็นที่ 20 โดย ผาง-ผาง
กรดเบส จะนิยามตามทฤษฎีครับ ตอนนี้ใช้ทฤษฏีของลิวอิสนะถ้าจำไม่ผิด
กรดคือ สารที่รับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
เบสคือ สารที่ให้อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
ถ้าพูดให้ไฮโซหน่อยแบบภาษาอังกฤษ
กรดคือ สารที่รับ lone pair electron
เบส คือ สารที่ให้ lone pair electron
กรด มีรสเปรี้ยว pH ต่ำกว่า 7
เบส มีรสฝาด และเมือก pH มากกว่า 7
กรดแตกตัวให้ ไฮโดรเนียม หรือ โปตอน H3O+ หรือ H+
เบสแตกตัวให้ ไฮดรอกไซด์ไอออน Hydroxide ion คือ OH-
กรดคือ สารที่รับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
เบสคือ สารที่ให้อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
ถ้าพูดให้ไฮโซหน่อยแบบภาษาอังกฤษ
กรดคือ สารที่รับ lone pair electron
เบส คือ สารที่ให้ lone pair electron
กรด มีรสเปรี้ยว pH ต่ำกว่า 7
เบส มีรสฝาด และเมือก pH มากกว่า 7
กรดแตกตัวให้ ไฮโดรเนียม หรือ โปตอน H3O+ หรือ H+
เบสแตกตัวให้ ไฮดรอกไซด์ไอออน Hydroxide ion คือ OH-
21 พ.ค. 2549 18:52
ความคิดเห็นที่ 21 โดย ผาง-ผาง
กรดและเบสนำไฟฟ้าได้ทั้งนั้นแหละครับถ้าละลายน้ำได้
ส่วนจะนำได้ดีหรือไม่ดีนั้นอยู่ที่ % การแตกตัว ถ้าแตกตัวดีก็นำไฟฟ้าได้ดี
จากที่ได้อธิบายมาด้านบน กรดแก่ เบสแก่แตกตัว 100%
แสดงว่า กรดแก่ และเบสแก่ นำไฟฟ้าได้ดี
ส่วนจะนำได้ดีหรือไม่ดีนั้นอยู่ที่ % การแตกตัว ถ้าแตกตัวดีก็นำไฟฟ้าได้ดี
จากที่ได้อธิบายมาด้านบน กรดแก่ เบสแก่แตกตัว 100%
แสดงว่า กรดแก่ และเบสแก่ นำไฟฟ้าได้ดี
21 พ.ค. 2549 19:05
ความคิดเห็นที่ 22 จำเนียร (Guest)
ขอโทษนะคับ คือ การเปลี่ยนแปลงที่ทำไห้เกิดภาวะสมดุลคืออะไรอ่ะคับ
ขอตัวอย่างนะครับ ช่วยทีนะคับจะต้องส่งงานแล้วอ่ะคับ
ขอตัวอย่างนะครับ ช่วยทีนะคับจะต้องส่งงานแล้วอ่ะคับ
21 พ.ค. 2549 19:27
ความคิดเห็นที่ 23 โดย ผาง-ผาง
ยกตัวอย่างของใกล้ตัวเช่น
1 การเปิดขวดน้ำอัดลม น้ำอัดลมที่รู้ๆกันอยู่ก็คือกรดคาร์บอนิก
H2CO3 (l) <-----> CO2(g) + H2O(l)
ปกติน้ำอัดลมที่ยังไม่ได้เปิดอยู่จะถูกปิดสนิท ความดันเยอะ และเมื่อการเปิดขวดเป็นการลดความดัน
เกี่ยวกับสมดุลเมื่อ เพิ่มความดัน สมดุลจะเลื่อนไปทางที่โมลก๊าซในสมการน้อย
เมื่อลดความดัน สมดุลจะเลื่อนไปทางโมลที่ก๊าซมากในสมการ
ดังนั้นการเปิดขวดน้ำอัดลมเป็นการลดความดัน
H2CO3 (l) <-----> CO2(g) + H2O(l)
ด้านซ้ายมือ มีก๊าซ 0 โมล
ด้านขวามือมีก๊าซ 1 โมล คือ CO2
ดังนั้นการเปิดขวดเป็นการลดความดันสมดุลจะเลื่อนไปทางโมลก๊าซมาก
ดังนั้นเมื่อเปิดน้ำอัดลมจึงเกิดก๊าซ CO2 ไงล่ะครับ
1 การเปิดขวดน้ำอัดลม น้ำอัดลมที่รู้ๆกันอยู่ก็คือกรดคาร์บอนิก
H2CO3 (l) <-----> CO2(g) + H2O(l)
ปกติน้ำอัดลมที่ยังไม่ได้เปิดอยู่จะถูกปิดสนิท ความดันเยอะ และเมื่อการเปิดขวดเป็นการลดความดัน
เกี่ยวกับสมดุลเมื่อ เพิ่มความดัน สมดุลจะเลื่อนไปทางที่โมลก๊าซในสมการน้อย
เมื่อลดความดัน สมดุลจะเลื่อนไปทางโมลที่ก๊าซมากในสมการ
ดังนั้นการเปิดขวดน้ำอัดลมเป็นการลดความดัน
H2CO3 (l) <-----> CO2(g) + H2O(l)
ด้านซ้ายมือ มีก๊าซ 0 โมล
ด้านขวามือมีก๊าซ 1 โมล คือ CO2
ดังนั้นการเปิดขวดเป็นการลดความดันสมดุลจะเลื่อนไปทางโมลก๊าซมาก
ดังนั้นเมื่อเปิดน้ำอัดลมจึงเกิดก๊าซ CO2 ไงล่ะครับ
21 พ.ค. 2549 20:40
ความคิดเห็นที่ 24 โดย ผาง-ผาง
ถ้าในสมการเคมี ไม่มีสถานะก๊าซ ก็แสดงว่าการเปลี่ยนแปลงความดันไม่มีผลต่อสมการสมดุลนั้น
21 พ.ค. 2549 20:44
ความคิดเห็นที่ 25 จำเนียร (Guest)
ขอบคุณนะคับ
21 พ.ค. 2549 20:44
แสดงความคิดเห็น
กรุณา Login ก่อนแสดงความคิดเห็น